วันพฤหัสบดีที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2559

จัดสเปคเครื่องคอมพิวเตอร์ สำหรับงานสำนักงาน


สวัสดีคร้าเพื่อนๆ ....พบกันอีกครั้งกับการรีวิวการจัดประกอบคอมพิวเตอร์
วันนี้เราจะมารีวิวการจัดสเปคคอมพิวเตอร์ สำหรับงานสำนักงานในงบประมาณ 16000 บาท ตามไปดูกันเลยดีกว่าคร้าาา ^^
.....................................................................................................................
การจัดเครื่องคอมพิวเตอร์ สำหรับงานสำนักงาน  จัดดังนี้


-  CPU ไม่น้อยกว่า 2 core มีความเร็วสัญญาณนาฬิกาพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 3.3 GHz หรือดีกว่า
ยกตัวอย่างเช่น



INTEL Pentium G4400
cpu bus = 8GT/s DMI
ความเร็ว = 3.70 GHz 
Cache L3 = 3MB

- มีหน่วยความจําหลัก (RAM) ชนิด DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 GB  ยกตัวอย่างเช่น


KINGSTON DDR4 8GB 2133 Hyper-X Fury Black

ชนิด = DDR4 มีความเร็วสูง
ความจุ = 8GB
RAM Bus = 2133

-  Hard Drive ชนิด SATA หรือ ดีกว่า ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 1 TB หรือ ชนิด Solid State Disk 
ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 100 GB  ยกตัวอย่างเช่น



WESTERN DIGITAL Black 1TB WD1003FZEX

                                                   ความจุ = 1 TB 
                                      ความเร็วของจานหมุน =  7200RPM 
                                                  Buffer  = 64MB 

 - มี DVD-RW หรือดีกว่า  ยกตัวอย่างเช่น


DVD RW SATA 24X LG รุ่น GH24NS (Box)


 - มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย (Network Interface) แบบ 10/100/1000 Base-T
หรือดีกว่า ยก
ตัวอย่างเช่น


MSI H110M PRO-VD

Chipset LAN = Realtek RTL8111H
ความเร็ว =  LAN10/100/1000Mbps
Port SATA 3 = 4 Port

- มีแป้นพิมพ์และเมาส์  ยกตัวอย่างเช่น


keyboard + mouse  ไฟ 3 สี รุ่น KM400 
ราคา 1500 ฿

- มีจอภาพแบบ LCD หรือดีกว่า มี Contrast Ratio ไม่น้อยกว่า 600 : 1 และมีขนาดไม่น้อยกว่า 18.5 นิ้ว  ยกตัวอย่างเช่น



Acer LCD Monitor 20 นิ้ว รุ่น V203HLAObmd


รายการราคาอุปกรณ์




วันเสาร์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2559

รีวิวการจัดสเปคคอมพิวเตอร์

สวัสดีค่ะเพื่อน ๆ ทุก ๆ คน....พบกันประจำทุกวันอาทิตย์
วันนี้หนูเตยจะมารีวิวการจัดสเปคคอมให้เพื่อน ๆ ได้ชมกัน 
ตามไปเล้ยยยย..
...............................................................................................................................................................
เว็บไซต์ที่ใช้ในการจัดสเปคคอมพิวเตอร์มีมากมายหลายเว็บแต่วันนี้เราเลือกใช้เว็บไซน์ของ
Notebookspec ค่ะ เพราะว่าจัดสเปคได้ง่ายแล้วก็สะดวกมากค่ะ 
ขั้นตอนในการจัดสเปคคอมพิวเตอร์

1. เข้าเว็บ --> เลือกจัดสเปคใหม่ 


2.เลือกจัดสเปค



3.เลือกแก้ไข --> เพื่อจัดสเปคคอมแต่ละชนิด


แบบที่ 1 การจัดสเปคโฮมออฟฟิต ราคา 17,500 บาท



1.CPU =  INTEL Core i3-6100


-> เลือกใช้ของ intel ซึ่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ รายแรก 
cpu bus = 8GT/s DMI
ความเร็ว 3.70 GHz = พอดีสำหรับการใช้งานโฮมออฟฟิตทั่วไป 
Cache L3 = มีขนาดใหญ่ สามารถถ่ายโอนข้อมูลไปยังส่วนต่าง ๆ ดีขึ้น


2. Mainbord = MSI H110M PRO-VD



- Msi ติดตลาดผู้ชื้อเชื่อถือได้
- มีความยืดหยุ่นในการรองรับการทำงานของฮาร์ดแวร์       
- มีช่องสัญญาณสำหรับรับข้อมูลได้อย่างเพียงพอ

3. RAM =  KINGSTON DDR4 8GB 2133 Hyper-X Fury Black

KINGSTON DDR4 8GB 2133 Hyper-X Fury Black

ชนิด = DDR4 มีความเร็วสูง
ความจุ = 8GB หน่อยความจำมากทำให้เครื่องเร็ว 

4.GVA = ZOTAC GTX960 2GB

Zotac GTX960 2GB

- แรม 2GB เพียงพอเพราะใช้ทำงาน
- ไม่ค่อยได้ใช้งานกราฟฟิก

5.HDD =  WESTERN DIGITAL Blue 1TB WD10EZEX

Western Digital Blue 1TB WD10EZEX

ความจุ 1 TB  = เพียงพอต่อการใช้งาน
7200RPM = ฮาร์ดดิสทำงานได้เร็วในการอ่านข้อมูล/เข้าถึงข้อมูล
Buffer 64MB = เรียกไฟล์ทำงานเดิมได้เร็ว 


6.CASE = COOLER MASTER Elite 311 (Black-Red)


COOLER MASTER Elite 311 (Black-Red)

- รูปลักษณ์สวยงาม คลาสสิค 
- พัดลม = มีระบบระบายอากาศ 
- มีช่องใส่ หูฟัง,ไมโครโฟน, USB 2


7. PSU = SEASONIC S12II 520W


SEASONIC S12II 520W

SEASONIC S12II  = เป็นยี่ห้อที่มีความน่าเชื่อถือ 

กำลังไฟสูง 520w = เพียงพอต่อการใช้งาน

............................................................................................................
อัพเกรดเป็นแบบเริ่มต้นเล่นเกมส์มือใหม่ 

สำหรับมือใหม่หัดเล่มที่มีงบอยู่ที่ประมาณ 20,000 
- เพิ่มการ์ดขึ้นมาอีกให้มีความคมชัดสมจริงในการเล่นเกมส์มากขึ้น  แล้วเราก็



ZOTAC GTX960 2GB = 6980 บาท 


- อัพเกรด CPU ขึ้นมาอีกเพื่อการทำงานที่ดีขึ้น  





INTEL Core i3-6100 = 4,640 บาท


- อัพเกรด PSU ให้มีจำนวนโวลมากขึ้น รองรับการทำงาน


- แรม 8 GB ที่เรามีอยู่ก็เพียงพอสำหรับการใช้งานแล้ว 

การจัดสเปคสำหรับนักเล่นเกมส์มือใหม่




ก็เรียบร้อยแล้วค่ะ..สำหรับรีวิวการจัดสเปคคอมสำหรับใของเรายังไงก็ลองจัดจัดสเปคกันดูนะคะ

............................................................................................................

เว็บไซน์เนาะนำ : http://notebookspec.com/
                          







วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2559

การทำงานของคอมพิวเตอร์ (Boot Up)


สวัสดีค่ะ..ชาว IT ที่น่ารักทุกคน  พบกันเช่นเคยกับการรีวิวระบบคอมพิวเตอร์  
วันนี้หนูเตยไม่ได้มาเล่น ๆ ค่ะ....วันนี้มารีวิว การบู๊ตเครื่อง  (ฺBoot up)
ว่าแล้วก็อย่าชักช้าดีกว่าค่ะ  ไปดูขั้นตอนการบู๊ตเครื่องกันเบยยย อิอิ
........................................................................................................................................................................................

ขั้นตอนในการบู๊ตเครื่องคอมพิวเตอร์


การบูทเครื่อง (ฺBoot up)
            ขั้นที่ 1 -> พาวเวอร์ซัพพลายส่งสัญญาณไปให้ซีพียูทำงาน
               ขั้นที่ 2 -> ซีพียูสั่งให้ไบออสทำงาน
         ไบออส (BIOS – Basic Input Output System)
                       รากฐานรองรับระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่บรรจุอยู่ในหน่วยความจำ ROM ซึ่งเก็บข้อมูลอย่างถาวรถึงแม้จะไม่มีไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม 



                     หน้าที่หลัก ->  RAM เมนบอร์ด ฮาร์ดดิสก์ อื่นๆไบออสทำให้โปรแกรมประยุกต์หรือระบบปฏิบัติการเป็นอิสระจากอุปกรณ์ เพียงแต่ติดตั้ง Driver ก็สามารถทำงานร่วมกันได้ปัจจุบันเก็บไว้ใน Flash ROM โปรแกรมได้แต่ไม่บ่อย เพื่ออัพเดท firmware



         ขั้นที่ 3 ->  เริ่มทำงานตามกระบวนการที่เรียกว่า POST เพื่อตรวจเช็คอุปกรณ์ต่างๆ จะมีสัญญาณเตือนเมื่อเกิดข้อผิดพลาดเช่น ถ้ามีเสียงยาว 1 ครั้ง สั้น 3 ครั้ง แสดงว่าการ์ดจอมีปัญหา ทั้งนี้ไบออสแต่ละรุ่นก็มีรหัสสัญญาณที่แตกต่างกัน
         ขั้นที่ 4 ->  ผลลัพธ์จากกระบวนการ POST จะถูกนำไปเปรียบเทียบกับข้อมูลที่อยู่ในซีมอส (CMOS) ข้อมูลอุปกรณ์ต่างๆที่ติดตั้งในเครื่องหรือค่า configuration จะเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ ใช้ไฟน้อยใช้แบตบนเมนบอร์ด) ถ้าถูกต้องก็ทำงานต่อ ไม่เช่นนั้นต้องแจ้งผู้ใช้แก้ไขข้อมูลก่อน
         ขั้นที่ 5->  ไบออสจะอ่านโปรแกรมสำหรับบูตจากฟลอปปี้ดิสก์หรือฮาร์ดดิสก์ ไบออสรุ่นใหม่จะตั้งได้ว่าจะบูตจากเซกเตอร์แรกของอุปกรณ์ตัวไหนก่อน

         ขั้นที่ 6-> โปรแกรมส่วนสำคัญ(Kernel)จะถูกถ่ายค่าลงหน่วยความจำ RAM

         ขั้นที่ 7 -> ระบบปฏิบัติการในหน่วยความจำเข้าควบคุมเครื่องและแสดงผลลัพธ์ Kernel ถูกถ่ายโอนลงหน่วยความจำ และเข้าไปควบคุมการทำงานคอมพิวเตอร์โดยรวมและโหลดค่า configuration ต่างๆพร้อมทั้งแสดงผลออกมาที่เดสก์ท็อปของผู้ใช้เพื่อรอรับคำสั่งการทำงานต่อไปซึ่งปัจจุบันในระบบปฏิบัติใหม่ๆจะมี GUI ที่เหมาะกับผู้ใช้ทั่วๆไป

ประเภทของการบู๊ตเครื่อง
         โคลด์บู๊ต ( Cold boot ) 
                เป็นการบู๊ตเครื่องที่อาศัยการทำงานของฮาร์ดแวร์ โดยการกดปุ่มเปิดเครื่อง ( Power On ) แล้วเข้าสู่กระบวนการทำงานโดยทันที ปุ่มเปิดเครื่องนี้จะอยู่บนตัวเคสของคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ปิดเปิดการทำงานโดยรวมของคอมพิวเตอร์ทั้งหมดเหมือนกับสวิทช์ของอุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป
         วอร์มบู๊ต ( Warm boot )
                เป็นการบู๊ตเครื่องโดยทำให้เกิดกระบวนการบู๊ตใหม่หรือที่เรียกว่า การรีสตาร์ทเครื่อง ( restart ) โดยมากจะใช้ในกรณีที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานต่อไปได้ (เครื่องแฮงค์) ซึ่งจำเป็นต้องมีการบู๊ตเครื่องกันใหม่ สามารถทำได้สามวิธีคือ
         --> กดปุ่ม Reset บนตัวเครื่อง (ถ้ามี)
           --> กดปุ่ม Ctrl + Alt + Delete จากแป้นพิมพ์ แล้วเลือกคำสั่ง restart จากระบบปฏิบัติการที่ใช้สั่งรีสตาร์ทเครื่องจากเมนูบนระบบปฏิบัติการ





รีวิวถอด-ประกอบ -> ออนนอกเคส -> วัดค่าความต่างศักย์


สวัสดีคคร้าา....เจอกันอีกเช่นเคยค่ะ  วันนี้ดิฉันจะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์
.........................................................................................
การถอด - ประกอบคอมพิวเตอร์

การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของ Power Supply

การออนเครื่องนอกเคส 
.........................................................................................

พร้อมแล้วตามไปดูกันเลยค่ะ วู้วววว ^^


ถอด - เนาะนำอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 



เตรียมอุปกรณ์ก่อนนะค่ะ -- > ชุดไขควง 




และนี้คืออุปกรณ์ชิ้นแรกค่ะ -->  Modrem Link  




พัดลม -->  Intel 




       CPU = Intel Pentium 4  2.4 GB 



Hard Disk 

  ยี่ห้อ : Maxtor

ชนิด : ATA/133

ขนาด : 40 GB




   แผ่นดิสก์ : Asus



Floppy Drire : PSP Group inc


  Port มีหลาย Port ด้วยกัน ดังต่อไปนี้ค่ะ 
     Mouse port 
   PS Keybourdport 
      Serial/comport 
 VGA/D – subport
   USB 2.0 port  Analog audio port 



อ่าา..ถอดอุปกรณ์เรียบร้อยหมดแล้วค่ะ 
ต่อไปเราจะทำการวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของ Power Supply

การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของ Power Supply



อันดับแรกมาเตรียมอุปกรณ์กันก่อนนะค่ะ 


และนี้ก็คือพระเอกของเรา ->>  มัลติมิตเตอร์ค่ะ
ลวดหรือครีมหนีบก็ได้ค่ะ

This is a power supply

ขั้นตอนการวัดค่าความต่างศักไฟฟ้า



1.นำสายสีดำซึ่งเป็นสายกราวเสียบไว้กับน๊อตของ power supply


2.นำลวดไปเสียบที่รูที่ 4 และ 5 เพื่อทำให้ power supply จ่ายไป


เสียบไปทีละรูค่ะ..เพื่ออ่านค่าความต่างศักย์ของไฟแต่ละสาย


ค่าความต่างศักย์ของแต่ละสี

การออนเครื่องนอกเคส 



การออนนอกเคสต้องมีอุปกรณ์ดังนี้ค่ะ 

1. power supply 
2.Harddisk
3.Mainboard


ต่ออุปกรณ์ทั้ง 3 อย่างเข้าด้วยกันค่ะ..เราจะทดสอบด้วยกัน 3 อย่างค่ะ 
1.เปิดเครื่อง
2.ปิดเครื่อง


1.การเปิดเครื่อง = ใช้ไขควงจิ้มปุ่ม Power Swith(SW) อันดับที่ 6,8 เพื่อเปิด 
                           เครื่องสังเกตว่าเครื่องเปิดแล้วได้จากพัดลมที่แผงเมมบอร์ด
2.การรีเซตเครื่อง = ใช้ไขควงจิ้มที่ปุ่ม Power Swith(sw) อันดับที่ 5,7
                            สังเกตว่าเครื่องปิดหรือเปิดได้จากพัดลม 
3.การปิดเครื่อง = ให้ใช้ไขควงจิ้มแผง Power Swith(SW) อันดับที่ 6,8 ค้างไว้
                          ประมาณ 5 นาที  เมื่อพัดลมดับเเสดงว่าเครื่องปิดแล้ว



หรือจะสังเกตการเปิดปิดได้จากพัดลมเพาร์เวอร์ซับพายก็ได้ค่ะ

เป็นอันเสร็จการทดสอบเก็บอุปกรณ์เข้าเครื่องไว้ที่เดิม

รีวิวถอด-ประกอบ -> ออนนอกเคส -> วัดค่าความต่างศักย์ 





วันนี้ก็ต้องขอขอบคุณทุกคนมาก ๆ นะค่ะ ที่สนเข้าเข้ามาอ่าน หวังว่าจะรีวิวครั้งนี้จะเป็นประโยชน์แก่ท่านไม่มากก็น้อยนะค่ะ  สวัสดีคร้าาา ^^